WelCome 2 MINaTa Blogg Kaa·.¸¸.ஐ

Bienvenue Tout le Monde ยินดีต้อนรับค่า Comment ให้ด้วยนะ เราไม่ขออะไรมากมาย ขอแค่ คำติชมของ " พวกคุณ" เท่านั้นพอค่ะ Merci !!

วันอาทิตย์ที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2551

Le Monde de Narnia.


Le Monde de Narnia (The Chronicles of Narnia) est une œuvre littéraire en sept tomes de l'écrivain irlandais C.S. Lewis, publié en français sous l'ISBN 2-0705-2432-9. Le titre original pourrait être traduit littéralement par : Les Chroniques de Narnia, qui est d'ailleurs le titre de la série au Québec. Presque inconnu en France avant la sortie du film Le Monde de Narnia 1 : Le lion, la sorcière blanche et l'armoire magique en 2005, c'est un livre à succès dans les pays anglo-saxons depuis de longues années. Ces livres ont été illustrés par Pauline Baynes, qui a été présentée à C.S. Lewis par J.R.R. Tolkien.
Les sept tomes de l'oeuvre sont:
1950 : Le Lion, la Sorcière blanche et l'Armoire magique, tome 2
1951 : Le Prince Caspian, tome 4
1952 : L'Odyssée du Passeur d'Aurore, tome 5
1953 : Le Fauteuil d'argent, tome 6
1954 : Le Cheval et son écuyer, tome 3
1955 : Le Neveu du magicien, tome 1
1956 : La Dernière Bataille, tome 7
Ils n'ont pas été écrits dans l'ordre. Des lecteurs prônent de les lire dans l'ordre d'écriture, affirmant que cela permet une lecture plus profonde dans l'esprit de l'auteur. D'ailleurs les adaptations en film se font dans l'ordre d'écriture.

Converti le 29 septembre 1931 du théisme au christianisme après une discussion sur la signification des mythes et sur le christianisme, C.S. Lewis a écrit de nombreux livres sur la religion chrétienne (notamment Lettres à Malcolm et Les Fondements du Christianisme). Il fut donc profondément chrétien et cette croyance transpire dans les Chroniques de Narnia. En effet, comme le dit Philippe Maxence dans Narnia décrypté :

« Les mœurs de Narnia ne sont pas celles des Grecs, des Romains ou des rudes hommes du Nord. Sont-elles alors celles d'un monde anti- ou au moins a-religieux ?
Pas d'avantage ! Au contraire de notre société sécularisée, Narnia est un monde profondément religieux. Si religieux que l'organisation politique, les mœurs individuelles et sociales jusqu'au "sens de l'histoire", pour reprendre une terminologie marxiste, se conçoivent en fonction de Dieu. »

Thx :: http://fr.wikipedia.org/wiki/Le_Monde_de_Narnia

วันอาทิตย์ที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2551

La Tomatina en España

สวัสดีค่า พอดีเข้าเวบเวบหนึ่งไปเจอบทความนี้มา น่าสนใจดีมากๆ เลยอยากให้ทุกคนได้ลองอ่านกัน


เมื่อพูดถึงประเทศสเปน ที่เลื่องชื่ออีกอย่างหนึ่งของประเทศนี้ คือ การจัดเทศกาลและงานเฉลิมฉลองต่าง ๆ ซึ่งมีหลากหลายตลอดปี และเป็นที่น่าตื่นตาตื่นใจไปซะหมด ดูกี่รอบ ๆ ก็ไม่เบื่อ ส่วนมากแล้ว งานฉลองต่าง ๆ หรือที่เรียกกันในภาษาสเปนว่า La fiesta ลา เฟียซต้า นั้น จะจัดฉลองกันเพื่อประเทศชาติ และคนในประเทศ แต่ก็มีบางงาน ที่เล่นกันในเฉพาะเมือง เพราะว่าแต่ละเมืองของสเปน มีที่มาที่ไปไม่เหมือนกัน ถ้าใครไปสเปน ไม่ว่าจะช่วงไหนของปี ก็จะมีงานฉลอง หรืองานเทศกาลให้ดูกันทั้งปีเลย มันต้องมีที่ไหนซักแห่งในสเปน



เทศกาลที่มีชื่อเสียงอันหนึ่งของสเปน แม้แต่คนไทยยังรู้จักกัน เพราะความแปลก คือ เทศกาลปามะเขือเทศ หรือ เรียกว่า La Tomatina ลา โตมาติ๊หน่า ในภาษาสเปน ซึ่งเฉลิมฉลอง เริ่มปามะเขือเทศใส่หัวกัน ในสัปดาห์สุดท้ายของเดือนสิงหาคมของทุกปี ที่เฉพาะเมือง บุนโยล (Bunyol) ทางภาคตะวันออกของสเปน ซึ่งอยู่ห่างจากบาเลนเซียไป 30 กิโลเมตร เทศกาลปามะเขือเทศนี้ ดุเดือด เข้มข้น ด้วย “ศึกปามะเขือเทศ” ซึ่งจะจัดขึ้นในวันพุธของสัปดาห์นั้น(เดือนสิงหาคม) ชื่อก็บอก ว่าเป็นศึกปามะเขือเทศ ดังนั้น คนที่มาร่วมงานเทศกาลนี้ ทั้งชาวเมืองเอง และผู้มาเยือน ต่างก็ปามะเขือเทศใส่กันอย่างสนุกสนาน



ในแต่ละปี ลา โตมาติ๊นา ดึงดูดนักท่องเที่ยวเข้าประเทศสเปนเป็นจำนวนมาก แล้วก็มีคนมาร่วมมากขึ้นเรื่อย ๆ ก็เลยต้องมีการตั้งกฎกติการกันซักหน่อย เพื่อความปลอดภัยและเพื่อรักษาประเพณีอันดีงามไว้ กฎก็มีอยู่ดังนี้ - ไม่ปาขวดหรือของแข็งใส่กัน - ห้ามฉีกเสื้อยืดกัน- ต้องทุบมะเขือเทศให้น่วม ก่อนมาปาใส่กัน- ระวังรถบรรทุกที่บรรทุกมะเขือเทศมาด้วย เด๋วรถเหยียบเอา- เมื่อเสียงประทัดสัญญาณดังขึ้น ให้หยุดปามะเขือเทศทันที
อย่างว่า กฎมีไว้แหก พอเล่นกันจริง ๆ ไม่มีใครสนใจกฎหรอกค่า ปาได้ปาเอา ซัดกันลูกเดียว ใครไปเล่น ก็เอาตัวรอดกันให้ดี อิอิ มะเขือเทศต้องเต็มสองมืออยู่ตลอดเวลา ไม่งั้นน่วม จริง ๆ ขอเตือนไว้ก่อน นอกจากนี้ ก่อนและหลังวันพุธซึ่งเป็นวันทำศึก ก็จะมีการจัดงานเฉลิมฉลองกัน ส่วนช่วงเวลาเด็ดสุดในเทศกาลนี้ คือช่วงตี 1 ถึงช่วงบ่ายโมงของวันพุธนั่นแหละ อ้าว ซัดกันเข้าไป เอาให้น่วมมมม
พอปีต่อมา เป็นวันพุธเดิม ในสัปดาห์สุดท้ายของเดือนสิงหาคม พวกหนุ่มสาวจอมซ่าส์ก็มาเจอกับพวกในขบวนพาเหรดอีกครั้ง คราวนี้ ขนมะเขือเทศกันมาเอง แล้วก็เริ่มทำศึกกันในวันนั้นเอง แต่ก็มีตำรวจมายุติศึกจนได้ ส่วนในปีหลังจากนั้น ทางการได้สั่งห้ามการทำศึกมะเขือเทศ ซึ่งได้กลายมาเป็น “วันทำศึกมะเขือเทศ ”โดยปริยาย แต่กระนั้น ผู้คนก็เริ่มฉลองวันทำศึกดังกล่าว ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา ซึ่งในแต่ละปี มีคนมาร่วมงานประมาณ 10,000 คนเลยเชียว

Thx : :
cammy - <> email :